อีกหนึ่งคุณภาพจากกลุ่ม

Search

Technical Data

UL 2443 & FM 1637 Test Requirement

ภายใต้ระบบมาตรฐานสากลท่อดับเพลิงข้อต่อท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง REALFLEX® Flexible Sprinkler Hose ผลิตภายใต้การทดสอบอย่างเข้มงวดจากสถาบัน FM และ UL โดยอ้างอิงตามมาตรฐาน FM 1637 ซึ่งเป็นมาตรฐานการรับรองสำหรับท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose และ อ้างอิงตามมาตรฐาน UL 2443 ซึ่งเป็นมาตรฐานรับรองสำหรับทดสอบท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose โดยเฉพาะ

ในหัวข้อ Physical or Structural Features สถาบัน FM กำหนดหัวข้อนี้เพื่อเป็นข้อกำหนดลักษณะทางกายภาพและโครงสร้างของท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose เพื่อใช้ในการตรวจสอบ

  1. ท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose สามารถใช้งานร่วมกับระบบดับเพลิงแบบท่อแห้งและท่อเปียก
  2. ท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose พร้อมข้อต่อออกเกลียว จะต้องออกแบบเพื่อการใช้งานที่ค่า Rated Working Pressure ไม่น้อยกว่า 175 psi (1205 kPa) ถ้าแตกต่างจากนี้ให้เป็นการตัดสินใจของ FM Approvals
  3. ข้อต่อท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง ของระบบ Flexible Sprinkler Hose ออกปลายเกลียวที่อยู่ภายใต้มาตรฐาน FM 1637 จะต้องมี Nominal Diameter ที่ 3/4, 1, 1-1/4 หรือ 1-1/2 และเส้นผ่านศูนย์กลางภายในห้ามต่ำกว่า 0.75 นิ้ว (19.05 มม.)
  4. ท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose รวมถึงข้อต่อที่ประกอบในชุดจะต้องมีความยาวสูงสุดไม่เกิน 6 ฟุต (1.8 ม.)
  5. ท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose ควรประกอบมาพร้อมกับข้อต่อ Inlet Nipple และ ข้อต่อ Discharge Nipple และห้ามนำสาย Hose มาต่อกันเพื่อเพิ่มความยาว
  6. ท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose พร้อมชุดข้อต่อที่ทำการทดสอบจะต้องเป็นชิ้นงานที่ได้จากกระบวนการผลิตจริงของโรงงานและชิ้นงานจะต้องอยู่ในสภาพสมบูรณ์ ปราศจากส่วนแหลมคมหรือความผิดปกติอื่นๆ ที่อาจทำให้ผู้ติดตั้งได้รับบาดเจ็บระหว่างการติดตั้ง
  7. ข้อต่อเกลียว (Inlet Nipple/ Discharge Nipple) ที่ประกอบเข้ากับ Flexible Sprinkler Hose จะต้องผลิตจากโลหะ
  8. ท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose พร้อมข้อต่อออกเกลียวจะต้องมีสายถักสแตนเลสสตีลหุ้มด้านนอกและภายในเป็นสายสแตนเลสด้านในแบบ Bellow
  9. สายด้านในของท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose (ที่ไม่ใช่สายถัก) อนุญาติให้ใช้วัสดุที่ไม่ใช้โลหะ แต่จำกัดให้ใช้ เป็น Polytetrafluoroethylene (PTFE) แบบลอน โดยที่มีความหนาอย่างน้อย 0.039 นิ้ว (1mm)
  10. ข้อมูลทางด้านเทคนิคทั้งหมดอ้างอิงจากผู้ผลิต
  11. จุดเชื่อมต่อทุกจุดจะต้องสามารถใช้ร่วมกับเกลียวสโลป (Taper) ที่เป็นไปตามมาตรฐานสากล โดยหัว Sprinkler ที่มีขายอยู่ในประเทศอเมริกาเกลียวจะผลิตตามมาตรฐาน ANSI/ASME B1.20.1 ตามตาราง 3.2.11

มาตรฐาน UL 2443 กำหนดให้ผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานนี้จะสามารถติดตั้งใช้งานร่วมกับระบบ Sprinkler ตามมาตรฐาน NFPA 13 (Standard for installation of sprinkler system), NFPA13R (Standard for installation of sprinkler system in residential occupancies up to four stories in height), NFPA13D (Standard for installation of sprinkler system in one and two-family dwellings and mobile homes)

  1. ท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose และชุดข้อต่อจะต้องผลิตจากวัสดุโลหะที่สามารถทนแรงดัน Rated Pressure ที่ 175 psig (1.24 Mpa) หรือมากกว่า

  2. ข้อต่อ Inlet Nipple จะต้องมีขนาดอย่างน้อย 1 นิ้ว โดยเป็นเกลียวนอก หรือ เกลียวใน มาตรฐานเกลียวแบบ NPT โดยเกลียวจะเป็นไปตามมาตรฐาน ANSI/ASME B1.20.1 หรือการต่อด้วยรูปแบบประเภทอื่นๆที่เหมาะสม เช่น ข้อต่อประเภท Grooved ที่ขนาดอย่างน้อย 1 นิ้ว และ ข้อต่อ Discharge สามารถใช้ข้อต่อเกลียวในขนาด 1/2, 3/4 หรือ 1 นิ้ว ตามมาตรฐาน NPT

  3. ท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose จะต้องติดตั้งมาพร้อมกับ ข้อต่อ Inlet Nipple และข้อต่อ Discharge Nipple โดยขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน ของสาย Flexible Sprinkler Hose ควรมีขนาดไม่เล็กกว่า 0.75 นิ้ว หรือ ไม่เล็กกว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของหัว Sprinkler ที่ใหญ่ที่สุดที่ใช้ในการติดตั้ง

ท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose ที่ผ่านการรับรองโดยสถาบัน FM ตามมาตรฐาน FM 1637 และสถาบัน UL ตามมาตรฐาน UL 2443

มีหัวข้อการทดสอบ ดังนี้

Pressure Test

Hydrostatic Pressure and Leakage test / การทดสอบแรงดัน และการรั่ว

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง   Flexible Sprinkler Hose จำนวน 2 ชิ้น โดยเลือกชิ้นงานที่มีความยาวมากสุดและน้อยสุด

ทดสอบที่ความดัน 1.5 เท่าของ Rated Working Pressure เป็นเวลา 1 นาที ความยาวของท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose จะต้องไม่มีการยืดออกเกิน 0.1 นิ้วต่อฟุต

ทดสอบต่อที่ความดัน 2 เท่าของ Rated Working Pressure เป็นเวลา 1 นาที จะต้องไม่มีตำหนิหรือร่องรอยที่อาจจะเกิดการรั่วไหลของท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose

ทดสอบต่อที่ความดัน 5 เท่าของ Rated Working Pressure เป็นเวลา 1 นาที ท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose จะต้องไม่เกิดการฉีกขาด

Hydrostatic Strength / การทดสอบแรงดัน

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง   Flexible Sprinkler Hose มาทดสอบแรงดันที่ 4 เท่าของ Rated Working Pressure หรือที่ความดัน 4.825 บาร์ เป็นเวลาทั้งหมด 5 นาที โดยชิ้นงานหลังผ่านการทดสอบจะต้องไม่เกิดความเสียหาย ฉีกขาดหรือเกิดรอยรั่ว

 

Elongation / การทดสอบการยืด

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง   Flexible Sprinkler Hose มาทดสอบแรงดันที่ 4 เท่าของ Rated Working Pressure หรือที่ความดัน 4.825 บาร์ เป็นเวลาทั้งหมด 5 นาที โดยชิ้นงานหลังผ่านการทดสอบจะต้องไม่เกิดความเสียหาย ฉีกขาดหรือเกิดรอยรั่ว

 

Pressure Cycling Test / การทดสอบวงจรการรับแรงดันน้ำ

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose มาทำการทดสอบแรงดัน 1.5 เท่าของค่า Rated Working Pressure เป็นเวลา 1 นาที ชิ้นงานที่ผ่านการทดสอบจะต้องมีความยาวไม่เกิน 101% ของความยาวสายเดิม

Pressure Cycling Test / การทดสอบวงจรการรับแรงดันน้ำ

ทดสอบการทนแรงดันน้ำของชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose ที่แรงดันน้ำเป็น 4 เท่าของ Rated Working Pressure หรือที่ความดัน 48.25  bars เป็นอย่างน้อย นาน 5นาที จากนั้น งอชิ้นงานตัวอย่างทำมุม 90 องศา ตามองศาน้อยสุดที่ทางโรงงานแนะนำ บนพื้นผิวเรียบ ทำการยึดข้อต่อบริเวณปลายท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose เข้ากับพื้นผิว แต่ไม่ยึดสาย Hose ทำการทดสอบแรงดันที่ 0 และ12.05  bars หรือที่ Rated Working Pressure เป็นจำนวน 20,000 รอบ ที่ความถี่ 6 รอบต่อนาที จากนั้นนำชิ้นงานที่ผ่านการทดสอบแล้ว นำไปผ่านการทดสอบแรงดันน้ำ 4 เท่าของ Rated Working Pressure เป็นเวลา 5 นาที วัสดุชิ้นงานจะต้องไม่เกิดความเสียหายหรือฉีกขาดจึงถือว่าผ่านการทดสอบ 

Pressure Cycling Test / การทดสอบวงจรการรับแรงดันน้ำ

Vacuum Test / การทดสอบแรงดัน

ทดสอบชิ้นงานจำนวน 2 ชิ้นติดตั้งเข้ากับ Manifold ทำการปรับลดแรงดันลงให้เหลือ -61 kPa เป็นเวลา 1 นาที และนำชิ้นงานตัวอย่างไปทดสอบแรงดันน้ำที่ 2 เท่าของ Rated Working Pressure เป็นเวลา 1 นาที ชิ้นงานที่ผ่านการทดสอบจะต้องไม่เจอรอยรั่วหรือร่องรอยความเสียหายของชิ้นงาน

Vacuum Test / การทดสอบแรงดัน

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose ทดสอบ Vacuum ที่ 26 in. Hg (0.88  bar) เป็นระยะเวลา 5 นาที จากนั้นนำชิ้นงานทดสอบแรงดันน้ำ 4 เท่าของ Rated Working Pressure เป็นเวลา 5 นาที ผลการทดสอบชิ้นงานจะต้องไม่เกิดความเสียหายหรือฉีกขาดจึงถือว่าผ่านการทดสอบ

High Pressure Flow Test / การทดสอบแรงดันการใช้งาน

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose ติดตั้งเข้ากับโครงฝ้าและสปริงเกอร์ในลักษณะพร้อมใช้งาน ทำการทดสอบการใช้งานที่ความดัน 5 ค่าครั้งละ 1 นาทีตั้งแต่ความดัน 2.75 – 12.05 bars โดยค่อยๆเพิ่มความดันทีละ 2.4 bars โดยประมาณ ในระหว่างการทดสอบชิ้นงานจะต้องไม่เกิดร่องรอยที่แสดงความเสียหาย หรือเกิดการรั่วไหลและท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose ที่ผ่านการทดสอบจะต้องอยู่ในลักษณะการติดตั้งที่สามารถใช้งานได้ตามปกติ

High Pressure Flow Test / การทดสอบแรงดันการใช้งาน

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose ติดตั้งเข้ากับโครงฝ้าและสปริงเกอร์ในลักษณะพร้อมใช้งาน ทำการทดสอบการใช้งานที่ความดัน 5 ค่าครั้งละ 1 นาทีตั้งแต่ความดัน 2.75 – 12.05 bars โดยค่อยๆเพิ่มความดันทีละ 2.4 bars โดยประมาณ ในระหว่างการทดสอบชิ้นงานจะต้องไม่เกิดร่องรอยที่แสดงความเสียหาย หรือเกิดการรั่วไหลและท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose ที่ผ่านการทดสอบจะต้องอยู่ในลักษณะการติดตั้งที่สามารถใช้งานได้ตามปกติ

Temperature Test

High Temperature Exposure Test /ทดสอบตามอุณหภูมิทดสอบตาม Intended Maximum Ambient Temp.

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose จำนวน 2 ชิ้นที่ผ่านการทดสอบแรงดันน้ำ 2 เท่าของ Rated Working Pressure เป็นระยะเวลา  1 นาที จากนั้นนำชิ้นงานมาผึ่งให้แห้งและนำไปทดสอบการทนความร้อนของอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมดังตารางที่ UL กำหนด โดยสามารถเลือกทดสอบที่อุณหภูมิ 66 oC , 107 oC หรือ 149 oC เป็นระยะเวลา 90 วัน จากนั้นให้นำชิ้นงานไปทดสอบแรงดันน้ำที่แรงดันน้ำ 2 เท่าของ Rated Working Pressure อีกเป็นเวลา 1 นาที ผลการทดสอบชิ้นงานจะต้องไม่มีร่องรอยความเสียหายหรือฉีกขาด

ในการกำหนดอุณหภูมิการทดสอบจะใช้ข้อมูลอ้างอิงจากข้อกำหนดการใช้งานหัว Sprinkler ตามมาตรฐาน NSPA 13

**ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน ULหัวข้อที่ 10

 

Seal Integrity /ทดสอบการรั่วซึม

การทดสอบชิ้นส่วนซีลยางเพื่อเช็คการรั่วไหลที่ความดัน Rated Working Pressure โดยจะต้องผ่านการทดสอบดังนี้

High Temperature Exposure
นำชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose ทำการทดสอบแรงดันน้ำที่ Rated Working Pressure จากนั้นให้ทำการไล่น้ำออกและทำการอบชิ้นงานที่อุณหภูมิ 135 องศาเป็นเวลา 45 วัน เมื่อทำการทดสอบเสร็จให้ทำการทดสอบแรงดันลมต่อที่ความดัน 3.45 บาร์ ในน้ำ โดยชิ้นงานจะต้องไม่เกิดการรั่วหรือเห็นฟองอากาศ จากนั้นให้นำชิ้นส่วนยางมาทำการยืดดึงออกที่ระยะห่างสองเท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของยางจะต้องไม่เกิดการฉีกขาด
Low Temperature Exposure
นำชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose ทำการทดสอบแรงดันน้ำที่ Rated Working Pressure จากนั้นให้ทำการไล่น้ำออกและทำการแช่ชิ้นงานในสารละลาย antifreeze ที่อุณหภูมิ -40C องศาเป็นเวลา 4 วัน เมื่อทำการทดสอบเสร็จให้ทำการทดสอบแรงดันลมต่อที่ความดัน 3.45 บาร์ ในน้ำ โดยชิ้นงานจะต้องไม่เกิดการรั่วหรือเห็นฟองอากาศ จากนั้นปล่อยให้ตัวอย่างชิ้นงานเย็นลงที่อุณหภูมิห้องแล้วนำเฉพาะชิ้นส่วนยางมาทำการยืดดึงออกที่ระยะห่างสองเท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของยางจะต้องไม่เกิดการฉีกขาด

Elastomeric Parts Test / การทดสอบการรับแรงดันของชิ้นส่วนยาง

การทดสอบชิ้นส่วนที่เป็นยาง ตามมาตรฐาน UL 157


สำหรับยางซิลิโคน
จะต้องมีความสามารถทนแรงดึงได้อย่างน้อย 3.4 MPa และมีค่า Minimum Ultimate Elongation ที่ 100%

สำหรับยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์
 จะต้องมีความสามารถทนแรงดึงได้อย่างน้อย 10.3 MPa และมีค่า Minimum Ultimate Elongation ที่ 150%
หรือจะต้องสามารถทนแรงดึงได้อย่างน้อย 15.2 MPa และมีค่า Minimum Ultimate Elongation ที่ 100%

Strength Test

Vibration Test / ทดสอบการสั่นในทุกทิศทาง

ทดสอบชิ้นงานโดยทำการอัดแรงดันน้ำในท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose ตามค่า Rated Working Pressure ที่มาตรฐานกำหนด และทำการทดสอบการสั่นที่ Amplitude และ ความถี่ ตามตารางที่กำหนด เป็นเวลา 5 ชม. ตามแต่ละค่าความถี่รวมทั้งหมด 25 ชม. โดยทำการทดสอบตามขั้นตอนที่มาตรฐานกำหนด

 

**ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน UL หัวข้อที่ 11

Vibration / ทดสอบการสั่น

ทดสอบชิ้นงานโดยการติดตั้งชิ้นงานสำหรับการทดสอบ Vibration ตามมาตรฐานกำหนด จากนั้นทำการอัดแรงดันน้ำที่ 90 psi (6.2 bars) แล้วเริ่มทำการทดสอบการสั่นตามมาตรฐานกำหนดเป็นระยะเวลาทั้งหมด 25 ชม.จากนั้นทำการทดสอบความดัน Hydrostatic Strength ซ้ำที่ความดัน 700 psi (48.25 bars) หรือที่ 4 เท่าของ Rated Working Pressure เพื่อดูรอยรั่วและความเสียหาย

** ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน FM หัวข้อที่ 4.3

Fatigue Test / ทดสอบความล้าของชิ้นงาน

ทดสอบชิ้นงานจำนวน 2 ชิ้น โดยทำการติดตั้งอุปกรณ์ตามข้อกำหนด ทำการอัดแรงดันน้ำในเส้นท่อให้เท่ากับค่า Rated Working Pressure แล้วทำการขยับขึ้นลงเป็นระยะ 4 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose จำนวน 100 รอบ ที่ความถี่ 5 – 30 รอบต่อนาที จากนั้นนำชิ้นงานไปทำการทดสอบต่อที่แรงดันน้ำ 5 เท่าของ Rated Working Pressure เป็นเวลา 1 นาทีต่อไป ชิ้นงานจะต้องไม่มีร่องรอยการเกิดความเสียหายหรือรอยรั่วเกิดขึ้น

**ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน UL หัวข้อที่ 21

Fatigue Test / ทดสอบความล้าของชิ้นงาน

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose โดยการติดตั้งอุปกรณ์ตามมาตรฐานกำหนด ทำการทดสอบโดยการขยับชิ้นงานในทิศทางที่ขนานกับหัวข้อต่อเป็นจำนวน 50,000 รอบ ด้วยความถี่ 5-15 รอบต่อนาที ที่ความดันน้ำเท่ากับ Rated Working Pressure เมื่อเสร็จสิ้นการทดสอบให้นำไปทดสอบ Hydrostatic Test ที่ความดัน 4 เท่าของ Rated Working Pressure หรือ 48.25 bars เป็นเวลา 5 นาที ชิ้นงานที่ผ่านการทดสอบจะต้องไม่พบรอยรั่วหรือความเสียหายใดๆ

**ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน FM หัวข้อที่ 4.2

Mechanical Strength / การทดสอบแรงบิด

ทดสอบชิ้นงานโดยการติดตั้งท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose ในลักษณะการใช้งานปกติ ตามคู่มือที่ทางโรงงานแนะนำ โดยให้ติดตั้งอุปกรณ์ Bracket และข้อต่อ Outlet Nipple Discharge ที่แรงบิด 81 Nm เป็นเวลา 10 วินาที ผลการทดสอบชิ้นงานจะต้องอยู่ในสภาพดี ไม่มีร่องรอยความเสียหายหรือรอยแตกร้าว หรือการเปลี่ยนรูปปรากฏให้เห็น

Equivalent Length

Friction Loss

Equivalent Length Determination / ทดสอบหาค่า Friction Loss

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose ต่อกับข้อต่อ Discharge ทดสอบทั้งในลักษณะท่อตรงโดยไม่มีการโค้งงอและลักษณะท่อที่มีการโค้งงอตามจำนวนที่มากที่สุด จากนั้นติดตั้ง Piezometer ที่บริเวณข้อต่อทั้งด้าน Inlet Nipple และ Outlet Nipple และต่อเข้ากับ Differential manometer ทำการเปิดให้น้ำไหลผ่านและวัดอัตราการไหล โดยทำการทดสอบที่ความเร็วน้ำแตกต่างกันทั้งหมด 5 ค่าในช่วงระหว่าง 3.1 – 5.5 m/s ขึ้นกับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของสาย Flexible Sprinkler Hose

Friction loss (Equivalent Length of Pipe) / ทดสอบค่า Friction Loss เทียบกับความเสียดทานของความยาวของท่อเหล็ก SCH 40 ขนาด 1 นิ้ว

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose ต่อเข้ากับ Sprinkler แต่ละขนาดและค่า K Factor ตามตารางที่มาตรฐานกำหนด การติดตั้งให้ทำการดัดโค้งงอชิ้นงานตามจำนวนการหักมุมที่มากที่สุดที่ทางโรงงานแนะนำ หรือหากไม่มีการแนะนำให้ทำการหักงอตามจำนวนที่ระบุในมาตรฐาน จากนั้นทำการติดตั้งอุปกรณ์วัด Piezometer เพื่อทำการวัดค่าความดันที่เปลี่ยนแปลงไปจากการทดลอง โดยจะทำการทดสอบที่อัตราการไหลของน้ำตั้งแต่ 94.6 L/min ถึง 246 L/min โดยให้เพิ่มอัตราการไหลของน้ำทีละ 18.9 L/min โดยประมาณ


**ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน FM หัวข้อที่ 4.6

Corrosion Test

Salt Spray Corrosion Test / ทดสอบการกัดกร่อน

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose จำนวน 3 ชิ้นที่ติดตั้งพร้อมหัว Sprinkler ในลักษณะพร้อมใช้งานเพื่อทำการทดสอบในกล่องที่มีการพ่นละอองของน้ำเกลือเป็นระยะเวลาทั้งหมด 10 วัน ที่ความดัน 117-131 kPa และอุณหภูมิ 35 ±1.5 C ชิ้นงาน ที่ผ่านการทดสอบจะต้องไม่มีร่องรอยการถูกกัดกร่อนหรือมีรอยแตกร้าว

Stress – Corrosion Cracking of Stainless Steel Parts Tests / ทดสอบการกัดกร่อนสายสแตนเลสสตีล

ทดสอบชิ้นงานที่ทำจากสแตนเลสสตีล Austenitic (ไม่รวมสายถัก) นำไปต้มในสารละลายแมกนีเซียมคลอไรด์ความเข้มข้น 42% โดยน้ำหนัก ที่อุณหภูมิ 150±1 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 150 ชั่วโมง จากนั้นทำการล้างด้วยน้ำกลั่นแล้วนำชิ้นงานที่ทดสอบไปส่งกล้องจุลทรรศน์ที่ความขยาย 25 เท่าเพื่อตรวจหาร่องรอยความเสียหาย การแยกชั้นหรือรอยแตกร้าวจากการทดสอบ 

Metallic Coating Thickness / ทดสอบความหนาของ Zn หรือ Cd

ทดสอบชิ้นส่วนของท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose ที่มีการเคลือบด้วยสังกะสีหรือแคดเมียม โดยการทดสอบเพื่อระบุความหนาของสารเคลือบด้วยวิธี X-ray Spectrometry หรือวิธีที่เทียบเท่า เพื่อระบุความหนาของ Zn หรือ Cd ที่ชุบเคลือบชิ้นงานโดยกำหนดให้สำหรับพื้นผิวด้านนอกจะต้องมีความหนาของสังกะสีชุบเคลือบไม่น้อยกว่า 0.0127 mmสำหรับพื้นผิวด้านในจะต้องมีความหนาของสังกะสีชุบเคลือบไม่น้อยกว่า 0.0076 mm

Moisture Test

10 Day Moist Ammonia Air Stress Cracking Test / การทดสอบความแข็งแรงของเกลียวทองเหลือง

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose ที่มีชิ้นส่วนเกลียวทองเหลือ จำนวน 3 ชิ้นแบบไม่ผ่านการเคลือบพื้นผิว โดยทำการติดตั้งด้วยแรง Torque ตามที่ระบุในตารางตามมาตรฐานกำหนด (** ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน ULหัวข้อที่ 14)  โดยไม่อนุญาตให้ใช้เทปเทฟลอนหรือข้อต่อที่มีเนื้อท่อบริเวณเกลียว ทำการทดสอบเป็นระยะเวลา 10 วัน ภายในกล่องแก้ว Chamber ที่มีไอระเหยสารละลายแอมโมเนียอยู่ ผลการทดสอบจะต้องไม่พบรอยแตกร้าวของชิ้นส่วนทองเหลืองที่มีส่วนประกอบของสังกะสีมากกว่า 15% เมื่อส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ที่ความขยาย 25X เท่า

ติดต่อเรา:
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

REALFLEX® Flexible Sprinkler Hose

Product_RF100

รุ่น Style RF-100

Unbraided hose with straight nipple

Product_RF200

รุ่น Style
RF-200 / 200E / 200G

Braided hose with straight nipple / elbow nipple / grooved connection

Product_RF400

รุ่น Style
RF-400 / 400E / 400G

Braided hose with straight nipple / elbow nipple / grooved connection

Product_RF200IB

รุ่น Style RF-200 IB

Stainless Steel Flexible hose, braided for isolation board roof

Product_RF200CR

รุ่น Style RF-200 CR

Stainless Steel Flexible hose, braided for isolation board roof

Product_Accessories

อุปกรณ์เสริม

ระบบดับเพลิงสปริงเกอร์ REALFLEX® Flexible Sprinkler Hose (UL/FM)

Grooved Coupling

ข้อต่อท่อดับเพลิงแบบกรู๊ฟ คับปลิ้ง (Grooved Coupling)

Technical Data

UL 2443 & FM 1637 Test Requirement

ภายใต้ระบบมาตรฐานสากลท่อดับเพลิงข้อต่อท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง REALFLEX® Flexible Sprinkler Hose ผลิตภายใต้การทดสอบอย่างเข้มงวดจากสถาบัน FM และ UL โดยอ้างอิงตามมาตรฐาน FM 1637 ซึ่งเป็นมาตรฐานการรับรองสำหรับท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose และ อ้างอิงตามมาตรฐาน UL 2443 ซึ่งเป็นมาตรฐานรับรองสำหรับทดสอบท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose โดยเฉพาะ

ในหัวข้อ Physical or Structural Features สถาบัน FM กำหนดหัวข้อนี้เพื่อเป็นข้อกำหนดลักษณะทางกายภาพและโครงสร้างของท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose เพื่อใช้ในการตรวจสอบ

  1. ท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose สามารถใช้งานร่วมกับระบบดับเพลิงแบบท่อแห้งและท่อเปียก
  2. ท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose พร้อมข้อต่อออกเกลียว จะต้องออกแบบเพื่อการใช้งานที่ค่า Rated Working Pressure ไม่น้อยกว่า 175 psi (1205 kPa) ถ้าแตกต่างจากนี้ให้เป็นการตัดสินใจของ FM Approvals
  3. ข้อต่อท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง ของระบบ Flexible Sprinkler Hose ออกปลายเกลียวที่อยู่ภายใต้มาตรฐาน FM 1637 จะต้องมี Nominal Diameter ที่ 3/4, 1, 1-1/4 หรือ 1-1/2 และเส้นผ่านศูนย์กลางภายในห้ามต่ำกว่า 0.75 นิ้ว (19.05 มม.)
  4. ท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose รวมถึงข้อต่อที่ประกอบในชุดจะต้องมีความยาวสูงสุดไม่เกิน 6 ฟุต (1.8 ม.)
  5. ท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose ควรประกอบมาพร้อมกับข้อต่อ Inlet Nipple และ ข้อต่อ Discharge Nipple และห้ามนำสาย Hose มาต่อกันเพื่อเพิ่มความยาว
  6. ท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose พร้อมชุดข้อต่อที่ทำการทดสอบจะต้องเป็นชิ้นงานที่ได้จากกระบวนการผลิตจริงของโรงงานและชิ้นงานจะต้องอยู่ในสภาพสมบูรณ์ ปราศจากส่วนแหลมคมหรือความผิดปกติอื่นๆ ที่อาจทำให้ผู้ติดตั้งได้รับบาดเจ็บระหว่างการติดตั้ง
  7. ข้อต่อเกลียว (Inlet Nipple/ Discharge Nipple) ที่ประกอบเข้ากับ Flexible Sprinkler Hose จะต้องผลิตจากโลหะ
  8. ท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose พร้อมข้อต่อออกเกลียวจะต้องมีสายถักสแตนเลสสตีลหุ้มด้านนอกและภายในเป็นสายสแตนเลสด้านในแบบ Bellow
  9. สายด้านในของท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose (ที่ไม่ใช่สายถัก) อนุญาติให้ใช้วัสดุที่ไม่ใช้โลหะ แต่จำกัดให้ใช้ เป็น Polytetrafluoroethylene (PTFE) แบบลอน โดยที่มีความหนาอย่างน้อย 0.039 นิ้ว (1mm)
  10. ข้อมูลทางด้านเทคนิคทั้งหมดอ้างอิงจากผู้ผลิต
  11. จุดเชื่อมต่อทุกจุดจะต้องสามารถใช้ร่วมกับเกลียวสโลป (Taper) ที่เป็นไปตามมาตรฐานสากล โดยหัว Sprinkler ที่มีขายอยู่ในประเทศอเมริกาเกลียวจะผลิตตามมาตรฐาน ANSI/ASME B1.20.1 ตามตาราง 3.2.11

มาตรฐาน UL 2443 กำหนดให้ผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานนี้จะสามารถติดตั้งใช้งานร่วมกับระบบ Sprinkler ตามมาตรฐาน NFPA 13 (Standard for installation of sprinkler system), NFPA13R (Standard for installation of sprinkler system in residential occupancies up to four stories in height), NFPA13D (Standard for installation of sprinkler system in one and two-family dwellings and mobile homes)

  1. ท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose และชุดข้อต่อจะต้องผลิตจากวัสดุโลหะที่สามารถทนแรงดัน Rated Pressure ที่ 175 psig (1.24 Mpa) หรือมากกว่า

  2. ข้อต่อ Inlet Nipple จะต้องมีขนาดอย่างน้อย 1 นิ้ว โดยเป็นเกลียวนอก หรือ เกลียวใน มาตรฐานเกลียวแบบ NPT โดยเกลียวจะเป็นไปตามมาตรฐาน ANSI/ASME B1.20.1 หรือการต่อด้วยรูปแบบประเภทอื่นๆที่เหมาะสม เช่น ข้อต่อประเภท Grooved ที่ขนาดอย่างน้อย 1 นิ้ว และ ข้อต่อ Discharge สามารถใช้ข้อต่อเกลียวในขนาด 1/2, 3/4 หรือ 1 นิ้ว ตามมาตรฐาน NPT

  3. ท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose จะต้องติดตั้งมาพร้อมกับ ข้อต่อ Inlet Nipple และข้อต่อ Discharge Nipple โดยขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน ของสาย Flexible Sprinkler Hose ควรมีขนาดไม่เล็กกว่า 0.75 นิ้ว หรือ ไม่เล็กกว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของหัว Sprinkler ที่ใหญ่ที่สุดที่ใช้ในการติดตั้ง

ท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose ที่ผ่านการรับรองโดยสถาบัน FM ตามมาตรฐาน FM 1637 และสถาบัน UL ตามมาตรฐาน UL 2443

มีหัวข้อการทดสอบ ดังนี้

Pressure Test

Hydrostatic Pressure and Leakage test / การทดสอบแรงดัน และการรั่ว

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง   Flexible Sprinkler Hose จำนวน 2 ชิ้น โดยเลือกชิ้นงานที่มีความยาวมากสุดและน้อยสุด

ทดสอบที่ความดัน 1.5 เท่าของ Rated Working Pressure เป็นเวลา 1 นาที ความยาวของท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose จะต้องไม่มีการยืดออกเกิน 0.1 นิ้วต่อฟุต

ทดสอบต่อที่ความดัน 2 เท่าของ Rated Working Pressure เป็นเวลา 1 นาที จะต้องไม่มีตำหนิหรือร่องรอยที่อาจจะเกิดการรั่วไหลของท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose

ทดสอบต่อที่ความดัน 5 เท่าของ Rated Working Pressure เป็นเวลา 1 นาที ท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose จะต้องไม่เกิดการฉีกขาด

Hydrostatic Strength / การทดสอบแรงดัน

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง   Flexible Sprinkler Hose มาทดสอบแรงดันที่ 4 เท่าของ Rated Working Pressure หรือที่ความดัน 4.825 บาร์ เป็นเวลาทั้งหมด 5 นาที โดยชิ้นงานหลังผ่านการทดสอบจะต้องไม่เกิดความเสียหาย ฉีกขาดหรือเกิดรอยรั่ว

 

Elongation / การทดสอบการยืด

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose มาทำการทดสอบแรงดัน 1.5 เท่าของค่า Rated Working Pressure เป็นเวลา 1 นาที ชิ้นงานที่ผ่านการทดสอบจะต้องมีความยาวไม่เกิน 101% ของความยาวสายเดิม

Pressure Cycling Test / การทดสอบวงจรการรับแรงดันน้ำ

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose โดยจะต้องทดสอบทั้งในลักษณะที่เป็นเส้นตรงไม่โค้งงอและในลักษณะที่มีการดัดโค้งงอตามจำนวนที่มากที่สุดที่ทางโรงงานกำหนด โดยการอัดแรงดันน้ำจะทดสอบตั้งแต่ 0 kPa ถึง ค่าแรงดันน้ำ 2 เท่าของ Rated Working Pressure สลับกันไปจำนวนทั้งหมด 3,000 รอบ โดยทดสอบความถี่ 10 รอบต่อนาที

Pressure Cycling Test / การทดสอบวงจรการรับแรงดันน้ำ

ทดสอบการทนแรงดันน้ำของชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose ที่แรงดันน้ำเป็น 4 เท่าของ Rated Working Pressure หรือที่ความดัน 48.25  bars เป็นอย่างน้อย นาน 5นาที จากนั้น งอชิ้นงานตัวอย่างทำมุม 90 องศา ตามองศาน้อยสุดที่ทางโรงงานแนะนำ บนพื้นผิวเรียบ ทำการยึดข้อต่อบริเวณปลายท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose เข้ากับพื้นผิว แต่ไม่ยึดสาย Hose ทำการทดสอบแรงดันที่ 0 และ12.05  bars หรือที่ Rated Working Pressure เป็นจำนวน 20,000 รอบ ที่ความถี่ 6 รอบต่อนาที จากนั้นนำชิ้นงานที่ผ่านการทดสอบแล้ว นำไปผ่านการทดสอบแรงดันน้ำ 4 เท่าของ Rated Working Pressure เป็นเวลา 5 นาที วัสดุชิ้นงานจะต้องไม่เกิดความเสียหายหรือฉีกขาดจึงถือว่าผ่านการทดสอบ 

Vacuum Test / การทดสอบแรงดัน

ทดสอบชิ้นงานจำนวน 2 ชิ้นติดตั้งเข้ากับ Manifold ทำการปรับลดแรงดันลงให้เหลือ -61 kPa เป็นเวลา 1 นาที และนำชิ้นงานตัวอย่างไปทดสอบแรงดันน้ำที่ 2 เท่าของ Rated Working Pressure เป็นเวลา 1 นาที ชิ้นงานที่ผ่านการทดสอบจะต้องไม่เจอรอยรั่วหรือร่องรอยความเสียหายของชิ้นงาน

Vacuum Test / การทดสอบแรงดัน

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose ทดสอบ Vacuum ที่ 26 in. Hg (0.88  bar) เป็นระยะเวลา 5 นาที จากนั้นนำชิ้นงานทดสอบแรงดันน้ำ 4 เท่าของ Rated Working Pressure เป็นเวลา 5 นาที ผลการทดสอบชิ้นงานจะต้องไม่เกิดความเสียหายหรือฉีกขาดจึงถือว่าผ่านการทดสอบ

High Pressure Flow Test / การทดสอบแรงดันการใช้งาน

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose พร้อมข้อต่อ ติดตั้งเข้ากับ Sprinkler และอุปกรณ์ Anchoring ที่ค่า K Factor สูงสุดที่ต้องการใช้งาน ให้เหมือนการใช้งานจริง การทดลองใช้แรงดัน 90% ของ Rated Working Pressure ระยะเวลา 30 นาที ผลการทดสอบ Sprinkler จะต้องอยู่ในตำแหน่งสภาพการใช้งานได้ตามปกติ ชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose ไม่มีร่องรอยความเสียหาย

High Pressure Flow Test / การทดสอบแรงดันการใช้งาน

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose ติดตั้งเข้ากับโครงฝ้าและสปริงเกอร์ในลักษณะพร้อมใช้งาน ทำการทดสอบการใช้งานที่ความดัน 5 ค่าครั้งละ 1 นาทีตั้งแต่ความดัน 2.75 – 12.05 bars โดยค่อยๆเพิ่มความดันทีละ 2.4 bars โดยประมาณ ในระหว่างการทดสอบชิ้นงานจะต้องไม่เกิดร่องรอยที่แสดงความเสียหาย หรือเกิดการรั่วไหลและท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose ที่ผ่านการทดสอบจะต้องอยู่ในลักษณะการติดตั้งที่สามารถใช้งานได้ตามปกติ

Temperature Test

High Temperature Exposure Test /ทดสอบตามอุณหภูมิทดสอบตาม Intended Maximum Ambient Temp.

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose จำนวน 2 ชิ้นที่ผ่านการทดสอบแรงดันน้ำ 2 เท่าของ Rated Working Pressure เป็นระยะเวลา  1 นาที จากนั้นนำชิ้นงานมาผึ่งให้แห้งและนำไปทดสอบการทนความร้อนของอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมดังตารางที่ UL กำหนด โดยสามารถเลือกทดสอบที่อุณหภูมิ 66 oC , 107 oC หรือ 149 oC เป็นระยะเวลา 90 วัน จากนั้นให้นำชิ้นงานไปทดสอบแรงดันน้ำที่แรงดันน้ำ 2 เท่าของ Rated Working Pressure อีกเป็นเวลา 1 นาที ผลการทดสอบชิ้นงานจะต้องไม่มีร่องรอยความเสียหายหรือฉีกขาด

ในการกำหนดอุณหภูมิการทดสอบจะใช้ข้อมูลอ้างอิงจากข้อกำหนดการใช้งานหัว Sprinkler ตามมาตรฐาน NSPA 13

**ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน ULหัวข้อที่ 10

 

Seal Integrity /ทดสอบการรั่วซึม

การทดสอบชิ้นส่วนซีลยางเพื่อเช็คการรั่วไหลที่ความดัน Rated Working Pressure โดยจะต้องผ่านการทดสอบดังนี้

High Temperature Exposure
นำชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose ทำการทดสอบแรงดันน้ำที่ Rated Working Pressure จากนั้นให้ทำการไล่น้ำออกและทำการอบชิ้นงานที่อุณหภูมิ 135 องศาเป็นเวลา 45 วัน เมื่อทำการทดสอบเสร็จให้ทำการทดสอบแรงดันลมต่อที่ความดัน 3.45 บาร์ ในน้ำ โดยชิ้นงานจะต้องไม่เกิดการรั่วหรือเห็นฟองอากาศ จากนั้นให้นำชิ้นส่วนยางมาทำการยืดดึงออกที่ระยะห่างสองเท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของยางจะต้องไม่เกิดการฉีกขาด
Low Temperature Exposure
นำชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose ทำการทดสอบแรงดันน้ำที่ Rated Working Pressure จากนั้นให้ทำการไล่น้ำออกและทำการแช่ชิ้นงานในสารละลาย antifreeze ที่อุณหภูมิ -40C องศาเป็นเวลา 4 วัน เมื่อทำการทดสอบเสร็จให้ทำการทดสอบแรงดันลมต่อที่ความดัน 3.45 บาร์ ในน้ำ โดยชิ้นงานจะต้องไม่เกิดการรั่วหรือเห็นฟองอากาศ จากนั้นปล่อยให้ตัวอย่างชิ้นงานเย็นลงที่อุณหภูมิห้องแล้วนำเฉพาะชิ้นส่วนยางมาทำการยืดดึงออกที่ระยะห่างสองเท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของยางจะต้องไม่เกิดการฉีกขาด

Elastomeric Parts Test / การทดสอบการรับแรงดันของชิ้นส่วนยาง

การทดสอบชิ้นส่วนที่เป็นยาง ตามมาตรฐาน UL 157


สำหรับยางซิลิโคน
จะต้องมีความสามารถทนแรงดึงได้อย่างน้อย 3.4 MPa และมีค่า Minimum Ultimate Elongation ที่ 100%

สำหรับยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์
 จะต้องมีความสามารถทนแรงดึงได้อย่างน้อย 10.3 MPa และมีค่า Minimum Ultimate Elongation ที่ 150%
หรือจะต้องสามารถทนแรงดึงได้อย่างน้อย 15.2 MPa และมีค่า Minimum Ultimate Elongation ที่ 100%

Strength Test

Vibration Test / ทดสอบการสั่นในทุกทิศทาง

ทดสอบชิ้นงานโดยทำการอัดแรงดันน้ำในท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose ตามค่า Rated Working Pressure ที่มาตรฐานกำหนด และทำการทดสอบการสั่นที่ Amplitude และ ความถี่ ตามตารางที่กำหนด เป็นเวลา 5 ชม. ตามแต่ละค่าความถี่รวมทั้งหมด 25 ชม. โดยทำการทดสอบตามขั้นตอนที่มาตรฐานกำหนด

 

**ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน UL หัวข้อที่ 11

Vibration / ทดสอบการสั่น

ทดสอบชิ้นงานโดยการติดตั้งชิ้นงานสำหรับการทดสอบ Vibration ตามมาตรฐานกำหนด จากนั้นทำการอัดแรงดันน้ำที่ 90 psi (6.2 bars) แล้วเริ่มทำการทดสอบการสั่นตามมาตรฐานกำหนดเป็นระยะเวลาทั้งหมด 25 ชม.จากนั้นทำการทดสอบความดัน Hydrostatic Strength ซ้ำที่ความดัน 700 psi (48.25 bars) หรือที่ 4 เท่าของ Rated Working Pressure เพื่อดูรอยรั่วและความเสียหาย

** ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน FM หัวข้อที่ 4.3

Fatigue Test / ทดสอบความล้าของชิ้นงาน

ทดสอบชิ้นงานจำนวน 2 ชิ้น โดยทำการติดตั้งอุปกรณ์ตามข้อกำหนด ทำการอัดแรงดันน้ำในเส้นท่อให้เท่ากับค่า Rated Working Pressure แล้วทำการขยับขึ้นลงเป็นระยะ 4 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose จำนวน 100 รอบ ที่ความถี่ 5 – 30 รอบต่อนาที จากนั้นนำชิ้นงานไปทำการทดสอบต่อที่แรงดันน้ำ 5 เท่าของ Rated Working Pressure เป็นเวลา 1 นาทีต่อไป ชิ้นงานจะต้องไม่มีร่องรอยการเกิดความเสียหายหรือรอยรั่วเกิดขึ้น

**ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน UL หัวข้อที่ 21

Fatigue Test / ทดสอบความล้าของชิ้นงาน

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose โดยการติดตั้งอุปกรณ์ตามมาตรฐานกำหนด ทำการทดสอบโดยการขยับชิ้นงานในทิศทางที่ขนานกับหัวข้อต่อเป็นจำนวน 50,000 รอบ ด้วยความถี่ 5-15 รอบต่อนาที ที่ความดันน้ำเท่ากับ Rated Working Pressure เมื่อเสร็จสิ้นการทดสอบให้นำไปทดสอบ Hydrostatic Test ที่ความดัน 4 เท่าของ Rated Working Pressure หรือ 48.25 bars เป็นเวลา 5 นาที ชิ้นงานที่ผ่านการทดสอบจะต้องไม่พบรอยรั่วหรือความเสียหายใดๆ

**ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน FM หัวข้อที่ 4.2

Mechanical Strength / การทดสอบแรงบิด

ทดสอบชิ้นงานโดยการติดตั้งท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose ในลักษณะการใช้งานปกติ ตามคู่มือที่ทางโรงงานแนะนำ โดยให้ติดตั้งอุปกรณ์ Bracket และข้อต่อ Outlet Nipple Discharge ที่แรงบิด 81 Nm เป็นเวลา 10 วินาที ผลการทดสอบชิ้นงานจะต้องอยู่ในสภาพดี ไม่มีร่องรอยความเสียหายหรือรอยแตกร้าว หรือการเปลี่ยนรูปปรากฏให้เห็น

Equivalent Length

Equivalent Length Determination / ทดสอบหาค่า Friction Loss

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose ต่อกับข้อต่อ Discharge ทดสอบทั้งในลักษณะท่อตรงโดยไม่มีการโค้งงอและลักษณะท่อที่มีการโค้งงอตามจำนวนที่มากที่สุด จากนั้นติดตั้ง Piezometer ที่บริเวณข้อต่อทั้งด้าน Inlet Nipple และ Outlet Nipple และต่อเข้ากับ Differential manometer ทำการเปิดให้น้ำไหลผ่านและวัดอัตราการไหล โดยทำการทดสอบที่ความเร็วน้ำแตกต่างกันทั้งหมด 5 ค่าในช่วงระหว่าง 3.1 – 5.5 m/s ขึ้นกับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของสาย Flexible Sprinkler Hose

Friction loss (Equivalent Length of Pipe) / ทดสอบค่า Friction Loss เทียบกับความเสียดทานของความยาวของท่อเหล็ก SCH 40 ขนาด 1 นิ้ว

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose ต่อเข้ากับ Sprinkler แต่ละขนาดและค่า K Factor ตามตารางที่มาตรฐานกำหนด การติดตั้งให้ทำการดัดโค้งงอชิ้นงานตามจำนวนการหักมุมที่มากที่สุดที่ทางโรงงานแนะนำ หรือหากไม่มีการแนะนำให้ทำการหักงอตามจำนวนที่ระบุในมาตรฐาน จากนั้นทำการติดตั้งอุปกรณ์วัด Piezometer เพื่อทำการวัดค่าความดันที่เปลี่ยนแปลงไปจากการทดลอง โดยจะทำการทดสอบที่อัตราการไหลของน้ำตั้งแต่ 94.6 L/min ถึง 246 L/min โดยให้เพิ่มอัตราการไหลของน้ำทีละ 18.9 L/min โดยประมาณ


**ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน FM หัวข้อที่ 4.6

Corrosion Test

Salt Spray Corrosion Test / ทดสอบการกัดกร่อน

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง  Flexible Sprinkler Hose จำนวน 3 ชิ้นที่ติดตั้งพร้อมหัว Sprinkler ในลักษณะพร้อมใช้งานเพื่อทำการทดสอบในกล่องที่มีการพ่นละอองของน้ำเกลือเป็นระยะเวลาทั้งหมด 10 วัน ที่ความดัน 117-131 kPa และอุณหภูมิ 35 ±1.5 C ชิ้นงาน ที่ผ่านการทดสอบจะต้องไม่มีร่องรอยการถูกกัดกร่อนหรือมีรอยแตกร้าว

Stress – Corrosion Cracking of Stainless Steel Parts Tests / ทดสอบการกัดกร่อนสายสแตนเลสสตีล

ทดสอบชิ้นงานที่ทำจากสแตนเลสสตีล Austenitic (ไม่รวมสายถัก) นำไปต้มในสารละลายแมกนีเซียมคลอไรด์ความเข้มข้น 42% โดยน้ำหนัก ที่อุณหภูมิ 150±1 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 150 ชั่วโมง จากนั้นทำการล้างด้วยน้ำกลั่นแล้วนำชิ้นงานที่ทดสอบไปส่งกล้องจุลทรรศน์ที่ความขยาย 25 เท่าเพื่อตรวจหาร่องรอยความเสียหาย การแยกชั้นหรือรอยแตกร้าวจากการทดสอบ 

Metallic Coating Thickness / ทดสอบความหนาของ Zn หรือ Cd

ทดสอบชิ้นส่วนของท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose ที่มีการเคลือบด้วยสังกะสีหรือแคดเมียม โดยการทดสอบเพื่อระบุความหนาของสารเคลือบด้วยวิธี X-ray Spectrometry หรือวิธีที่เทียบเท่า เพื่อระบุความหนาของ Zn หรือ Cd ที่ชุบเคลือบชิ้นงานโดยกำหนดให้สำหรับพื้นผิวด้านนอกจะต้องมีความหนาของสังกะสีชุบเคลือบไม่น้อยกว่า 0.0127 mmสำหรับพื้นผิวด้านในจะต้องมีความหนาของสังกะสีชุบเคลือบไม่น้อยกว่า 0.0076 mm

Moisture Test

10 Day Moist Ammonia Air Stress Cracking Test / การทดสอบความแข็งแรงของเกลียวทองเหลือง

ทดสอบชิ้นงานท่อสปริงเกอร์ดับเพลิง Flexible Sprinkler Hose ที่มีชิ้นส่วนเกลียวทองเหลือ จำนวน 3 ชิ้นแบบไม่ผ่านการเคลือบพื้นผิว โดยทำการติดตั้งด้วยแรง Torque ตามที่ระบุในตารางตามมาตรฐานกำหนด (** ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน ULหัวข้อที่ 14)  โดยไม่อนุญาตให้ใช้เทปเทฟลอนหรือข้อต่อที่มีเนื้อท่อบริเวณเกลียว ทำการทดสอบเป็นระยะเวลา 10 วัน ภายในกล่องแก้ว Chamber ที่มีไอระเหยสารละลายแอมโมเนียอยู่ ผลการทดสอบจะต้องไม่พบรอยแตกร้าวของชิ้นส่วนทองเหลืองที่มีส่วนประกอบของสังกะสีมากกว่า 15% เมื่อส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ที่ความขยาย 25X เท่า